Best คํา ถวาย ผ้า กฐิน New Update

You are viewing this post: Best คํา ถวาย ผ้า กฐิน New Update

บทความอัพเดทใหม่ในหัวข้อ คํา ถวาย ผ้า กฐิน

คำถวายผ้ากฐิน – วัดพิชโสภาราม 2022 Update

05/07/2019 · คำถวายผ้ากฐิน. อิมัง ภันเต สะปะริวารัง กะฐินะจีวะระทุสสัง สังฆัสสะ โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, สังโฆ อิมัง สะปะริวารัง กะฐินะทุสสัง ปะฏิคคัณ๎หา …

+ อ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่นี่

คำถวายผ้ากฐิน 2022 คํา ถวาย ผ้า กฐิน

ดูวีดีโอ

ดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์เพิ่มเติมในหัวข้อ คํา ถวาย ผ้า กฐิน

คำถวายผ้ากฐินทั่วไป

คํา ถวาย ผ้า กฐิน ภาพบางส่วนในหัวข้อ

คํา ถวาย ผ้า กฐิน  Update 2022  คำถวายผ้ากฐิน
คำถวายผ้ากฐิน คํา ถวาย ผ้า กฐิน New

คำถวายผ้ากฐิน – watprongjorrakhe Update 2022

คำถวายผ้ากฐิน อิมัง ภันเต, สะปะริวารัง, กะฐินะจีวะระทุสสัง, สังฆัสสะ,. โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, สังโฆ, อิมัง, สะปะริวารัง, กะฐินะ-

+ ดูเพิ่มเติมที่นี่

คำถวายกฐิน (คำถวายผ้ากฐินและบริวารกฐิน) สำหรับใช้ในงานทอดกฐิน Update New คํา ถวาย ผ้า กฐิน

ชมวิดีโอด้านล่าง

ข้อมูลใหม่ในหัวข้อ คํา ถวาย ผ้า กฐิน

คำถวายกฐิน (คำถวายผ้ากฐินและบริวารกฐิน) \nสำหรับใช้ในงานทอดกฐิน หรือถวายกฐินทาน\n\nกฐินคืออะไร ? การทอดกฐินต้องทำอย่างไร ?\nทำไมการทอดกฐินถึงได้อานิสงส์มากกว่าการทำบุญปกติ ?\nคลิปนี้เรามีคำตอบครับ \nhttps://youtu.be/JOUmUPkqvRE\n\nหากผิดพลาดประการใด ทีมงานผู้จัดทำขออภัยมา ณ ที่นี้\n—————————————————————–\nหากท่านใดชอบ อย่าลืมกดถูกใจ หากใช่กดแชร์\nและหากอยากติดตามวิดีโอใหม่ๆ อย่าลืมกด Subscribe นะครับ

คํา ถวาย ผ้า กฐิน คุณสามารถดูภาพสวย ๆ ในหัวข้อ

คํา ถวาย ผ้า กฐิน  New Update  คำถวายกฐิน (คำถวายผ้ากฐินและบริวารกฐิน)  สำหรับใช้ในงานทอดกฐิน
คำถวายกฐิน (คำถวายผ้ากฐินและบริวารกฐิน) สำหรับใช้ในงานทอดกฐิน คํา ถวาย ผ้า กฐิน New 2022

คำกล่าวถวายผ้ากฐิน (Th Eng Ch) – Ceremony 2022 New

คำกล่าวถวายผ้ากฐิน อิมัง มะยัง ภันเต , สะปะริวารัง , กะฐินะจีวะระทุสสัง , สังฆัสสะ , โอโณชะยามะ , สาธุ โน ภันเต , สังโฆ , อิมัง , สะปะริวารัง , กะฐินะทุส …

+ ดูบทความโดยละเอียดที่นี่

คำกล่าวถวายผ้ากฐิน Update คํา ถวาย ผ้า กฐิน

ดูวีดีโอ

ดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์เพิ่มเติมในหัวข้อ คํา ถวาย ผ้า กฐิน

การทอดกฐิน เป็นประเพณีที่สำคัญของพุทธศาสนิกชนอย่างหนึ่ง นิยมทำกันตั้งแต่วันแรมค่ำเดือนสิบเอ็ด ไปจนถึงกลางเดือนสิบสอง

คํา ถวาย ผ้า กฐิน ภาพบางส่วนในหัวข้อ

คํา ถวาย ผ้า กฐิน  2022  คำกล่าวถวายผ้ากฐิน
คำกล่าวถวายผ้ากฐิน คํา ถวาย ผ้า กฐิน 2022

กฐิน – วัดบ้านเก่าบ่อ Update New

Đang cập nhật

+ ดูเพิ่มเติมที่นี่

พิธีกล่าวคำถวายผ้ากฐิน + อปโลกนกรรม + ให้พร Update New คํา ถวาย ผ้า กฐิน

ดูวีดีโอ

ดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์เพิ่มเติมในหัวข้อ คํา ถวาย ผ้า กฐิน

บุญจากการทอดกฐินเป็นบุญพิเศษ ที่ทำได้ยากกว่าบุญอื่น ด้วยสาเหตุหลายประการ ดังนี้ คือ\n\n1. จำกัดด้วยเวลา คือต้องถวายภายใน 1 เดือน นับตั้งแต่วันออกพรรษา\n2. จำกัดชนิดทาน คือ ต้องถวายเป็นสังฆทานเท่านั้น จะถวายเจาะจงภิกษุรูปใดรูปหนึ่งเหมือนทานอื่นไม่ได้\n3. จำกัดคราว คือ แต่ละวัดรับกฐินได้เพียงปีละ 1 ครั้งเท่านั้น\n4. จำกัดผู้รับ คือ พระภิกษุรับกฐินได้จะต้องจำพรรษาที่วัดนั้นครบไตรมาส (3 เดือน) และจะต้องมีจำนวนตั้งแต่ 5 รูปขึ้นไป\n5. จำกัดงาน คือ เมื่อพระภิกษุรับผ้ากฐินแล้ว จะต้องกรานกฐินให้เสร็จภายในวันนั้น\n6. จำกัดของถวาย คือ ไทยธรรมที่ถวายต้องเป็นผ้าผืนใดผืนหนึ่งในไตรจีวรเท่านั้น โดยทั่วไปนิยมใช้สังฆาฏิ ไทยธรรมอื่นจัดเป็นบริวารกฐิน เกิดจากพุทธประสงค์ พระสัมมาสัมมาพุทธเจ้าทรงมีพุทธานุญาตให้พระภิกษุสงฆ์รับผ้ากฐินเพื่อพลัดเปลี่ยนไตรจีวรเก่า แต่ทานอย่างอื่นทายกทูลขอให้อนุญาต เช่น มหาอุบาสิกาวิสาขาทูลขออนุญาต ถวายผ้าอาบน้ำฝน\n\nผ้ากฐิน โดยความหมายก็คือผ้าสำเร็จรูปโดยอาศัยไม้สะดึง นิยมเรียกกันจนปัจจุบันนี้\n\nการทอดกฐิน คือ การนำผ้ากฐินไปวางไว้ต่อหน้าพระสงฆ์อย่างต่ำ 5 รูป แล้วให้พระสงฆ์รูปใดรูปหนึ่งที่ได้รับมอบหมาย จากคณะสงฆ์ทั้งนั้นเป็นเอกฉันท์ให้เป็นผู้รับกฐินนั้น\n\nเขตกำหนดทอดกฐิน\n\n การทอดกฐินเป็นกาลทาน ตามพระวินัยกำหนดกาลไว้ คือ ตั้งแต่แรม 1 ค่ำ เดือน 11 ถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ผู้มีจิตศรัทธาเลื่อมใส ใคร่จะทอดกฐิน ก็ให้ทอดได้ในระหว่างระยะเวลานี้ จะทอดก่อนหรือทอดหลังกำหนดนี้ ไม่จัดเป็นการทอดกฐิน\n\nแต่มีข้อยกเว้นพิเศษว่า ถ้าทายกผู้จะทอดกฐินนั้น มีกิจจำเป็น เช่น จะต้องไปในทัพ ไม่สามารถจะอยู่ทอดกฐินตามกำหนดนั้นได้ จะทอดกฐินก่อนกำหนดดังกล่าวแล้วพระสัมมาสัมพุทธะ ทรงอนุญาตให้ภิกษุรับไว้ก่อนได้\n \n นอกจากนี้การทอดกฐินยังเป็นทานที่พิเศษ คือ ทั้งพระภิกษุและญาติโยมผู้ทอดกฐินได้อานิสงส์ด้วยกัน การทอดกฐินจึงเป็นบุญใหญ่ ที่ผู้ให้ (คฤหัสถ์) และผู้รับ (พระภิกษุสงฆ์) ต่างก็ได้บุญทั้ง 2 ฝ่าย\n\nกฐินทาน คือ การถวายผ้าให้แก่พระภิกษุสงฆ์ผู้ได้ดำรงตนอยู่ในกรอบแห่งศีล สมาธิ(Meditation) และปัญญา ผ่านการอยู่จำพรรษาตลอดฤดูฝน ณ อารามใดอารามหนึ่ง นับว่าเป็นกาลทานอันยิ่งใหญ่ ย่อมก่อให้เกิดอานิสงส์มากมายแก่ผู้ทอดถวาย\n \n คำว่า กฐิน แปลว่า สะดึง หมายถึง ไม้ที่ใช้สำหรับขึงผ้าให้ตึง มีทั้งรูปสี่เหลี่ยม และรูปวงกลม เมื่อขึงผ้าด้วยสะดึงแล้วจะทำให้เย็บผ้าได้ง่ายขึ้น แต่ในอีกความหมายหนึ่งนั้น หมายเอาผ้าจีวรที่ถวายแด่พระสงฆ์ที่อยู่ประจำอารามจนครบพรรษา คำว่า ทอดกฐิน จึงหมายถึง การน้อมนำผ้าจีวรมาวางทอดลง เพื่อถวายแด่ภิกษุสงฆ์ มิได้เจาะจงแก่ภิกษุรูปใด เทศกาลทอดกฐินจะเรียกอีกแบบ คือ ฤดูกาลเปลี่ยนผ้าใหม่ของพระภิกษุ โดยในอดีตกาล ยุคต้นที่พระพุทธศาสนาเริ่มบังเกิดขึ้น ผ้าที่ภิกษุได้มานั้นเป็นผ้าที่ไม่มีเจ้าของหรือผ้าที่เขาทิ้งแล้ว เช่น ผ้าห่อศพในป่าช้า หรือผ้าที่เขาทิ้งไว้ตามกองหยากเยื่อ ที่เป็นเช่นนี้ เพราะผ้าในยุคนั้นเป็นของมีค่าหาได้ยาก การที่ภิกษุแสวงหาผ้าที่ไม่มีผู้หวงแหน นำมาใช้นุ่งห่ม จึงแสดงถึงความสันโดษมักน้อยของนักบวชผู้มุ่งแสวงหาทางหลุดพ้น\n \n อีกประการหนึ่ง จะได้ไม่เป็นที่หมายปองของพวกโจร จะได้ไม่ถูกขโมยหรือถูกโจรปล้นชิงไป เพราะผู้คนในสมัยนั้น รังเกียจผ้าผุปะหรือผ้าเก่าๆ ถือว่าเป็นผ้าเสนียด จึงไม่มีใครอยากได้ แต่มาภายหลังพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้พระภิกษุรับผ้าที่คหบดีนำมาถวายได้ เนื่องจากหมอชีวกได้กราบทูลเพื่อที่จะถวายผ้าแด่พระภิกษุ เพราะเห็นว่าพระภิกษุทั้งหลายมีความลำบากในการแสวงหาผ้าเป็นอย่างยิ่ง\n \nรูปแบบของจีวร\n\n รูปแบบของจีวรนั้น เกิดขึ้นจากพระดำริของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า กล่าวคือ ครั้งหนึ่ง พระองค์ทรงชี้ให้พระอานนท์แลดูคันนาของชาวมคธ และให้ออกแบบตัดเย็บโดยใช้แผ่นผ้าหลายชิ้นนำมาเย็บต่อๆ กันเป็นขันธ์ คล้ายคันนา เพื่อให้เป็นผ้ามีตำหนิไม่มีใครอยากได้ พระพุทธองค์ทรงบัญญัติให้จีวรมีห้าขันธ์ขึ้นไป สำหรับจีวรในปัจจุบันมี 5 ขันธ์นับเฉพาะแนวตั้ง เรียกว่า มณฑล ส่วนขันธ์ย่อยเรียกว่า อัฑฒมณฑล\n จีวรที่พระภิกษุใช้สอยกันในสมัยก่อนนั้น จะต้องวัดแต่ละชิ้นให้ได้สัดส่วน แล้วทำการตัดเย็บและย้อมเองซึ่งเป็นเรื่องยากและลำบากอย่างยิ่งสำหรับพระภิกษุ โดยวัสดุที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้นำมาย้อมผ้าจีวรได้ คือ\n\n1.รากไม้\n2.ต้นไม้\n3.ใบไม้\n4.ดอกไม้\n5.เปลือกไม้\n6.ผลไม้\n\nสีของจีวรที่นิยมนำมาทำเป็นผ้ากฐิน\n\n สีที่นิยมใช้ คือ สีเหลืองเจือแดง สีเหลืองหม่น หรือสีกรัก\n ส่วนสีที่ห้ามใช้ได้แก่ สีคราม สีเหลือง สีแดง สีบานเย็น สีแสด สีชมพู และสีดำ\n\nhttps://www.dmc.tv/pages/buddha_biography/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%81%E0%B8%90%E0%B8%B4%E0%B8%99-%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%93%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%81%E0%B8%90%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B9%8C%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%8D%E0%B8%81%E0%B8%90%E0%B8%B4%E0%B8%99.html

คํา ถวาย ผ้า กฐิน ภาพบางส่วนในหัวข้อ

คํา ถวาย ผ้า กฐิน  2022 New  พิธีกล่าวคำถวายผ้ากฐิน + อปโลกนกรรม + ให้พร
พิธีกล่าวคำถวายผ้ากฐิน + อปโลกนกรรม + ให้พร คํา ถวาย ผ้า กฐิน New Update

การทอดกฐิน – วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา – ธรรมะไทย 2022

การถวายผ้ากฐิน การถวายผ้ากฐินน้น … ตั้งนะโม 3 จบ แล้วหันหน้ามาทางพระสงฆ์ กล่าวคำถวายผ้ากฐิน 3 จบ ถ้าเป็นกฐินสามัคคีก็ …

+ อ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่นี่

กล่าวคำถวายผ้ากฐิน 2022 Update คํา ถวาย ผ้า กฐิน

ดูวีดีโอ

ข้อมูลใหม่ในหัวข้อ คํา ถวาย ผ้า กฐิน

คํา ถวาย ผ้า กฐิน คุณสามารถดูภาพสวย ๆ ในหัวข้อ

คํา ถวาย ผ้า กฐิน  Update  กล่าวคำถวายผ้ากฐิน
กล่าวคำถวายผ้ากฐิน คํา ถวาย ผ้า กฐิน Update New

กฐิน – วิกิพีเดีย New 2022

คำถวายผ้ากฐิน คำถวายผ้ากฐินภาษาบาลี แบบเก่า บทปุพพภาคนมการ นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส” (๓ จบ) กล่าวคำถวายผ้ากฐิน

+ ดูรายละเอียดที่นี่

คำถวายผ้ากฐิน Update 2022 คํา ถวาย ผ้า กฐิน

ดูวีดีโอ

ข้อมูลใหม่ในหัวข้อ คํา ถวาย ผ้า กฐิน

ต้นตำรับมนต์พิธี​ (เล่มเหลือง)​หน้าที่​ ๒๒๑ โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง​ เป็นโรงพิมพ์เก่าแก่​ เชื่อถือได้

คํา ถวาย ผ้า กฐิน รูปภาพที่เกี่ยวข้องในหัวข้อ

คํา ถวาย ผ้า กฐิน  2022 Update  คำถวายผ้ากฐิน
คำถวายผ้ากฐิน คํา ถวาย ผ้า กฐิน Update

ดูข้อมูลหัวข้อเพิ่มเติม คํา ถวาย ผ้า กฐิน

การทอดกฐิน – วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา – ธรรมะไทย New 2022

การถวายผ้ากฐิน การถวายผ้ากฐินน้น … ตั้งนะโม 3 จบ แล้วหันหน้ามาทางพระสงฆ์ กล่าวคำถวายผ้ากฐิน 3 จบ ถ้าเป็นกฐินสามัคคีก็ …

+ ดูบทความโดยละเอียดที่นี่

คำถวายผ้ากฐิน 2022 คํา ถวาย ผ้า กฐิน

ดูวีดีโอ

ดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์เพิ่มเติมในหัวข้อ คํา ถวาย ผ้า กฐิน

คำถวายผ้ากฐินทั่วไป

คํา ถวาย ผ้า กฐิน ภาพบางส่วนในหัวข้อ

คํา ถวาย ผ้า กฐิน  Update 2022  คำถวายผ้ากฐิน
คำถวายผ้ากฐิน คํา ถวาย ผ้า กฐิน New

บทความรวมบทคำกล่าวในศาสนพิธี : คำกล่าวถวายผ้ากฐิน New

คำกล่าวถวายผ้ากฐิน. วันที่ 10 ธค. พ.ศ.2561. Tweet. คำกล่าวถวายผ้ากฐิน. อิมัง มะยัง ภันเต, สะปะริวารัง, กะฐินะจีวะระทุสสัง, สังฆัสสะ, โอโณ …

+ ดูบทความโดยละเอียดที่นี่

คำอธิษฐานจิต ถวายผ้าไตรจีวร New คํา ถวาย ผ้า กฐิน

ดูวีดีโอ

ดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์เพิ่มเติมในหัวข้อ คํา ถวาย ผ้า กฐิน

คำอธิษฐานจิต ถวายผ้าไตรจีวร

คํา ถวาย ผ้า กฐิน ภาพบางส่วนในหัวข้อ

คํา ถวาย ผ้า กฐิน  New Update  คำอธิษฐานจิต ถวายผ้าไตรจีวร
คำอธิษฐานจิต ถวายผ้าไตรจีวร คํา ถวาย ผ้า กฐิน 2022 Update

การทอดกฐิน – Boonthong59 ล่าสุด

คำถวายกฐิน … ตั้งนะโม 3 จบ แล้วหันหน้ามาทางพระสงฆ์ กล่าวคำถวายผ้ากฐิน 3 จบ ถ้าเป็นกฐินสามัคคีก็มักเอาด้วยสายสิญจน์โยงผ้า

+ อ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่นี่

เตรียมเครื่องกฐิน งานกฐินสามัคคี จากกรุงเทพ วันที่ 3-4 พฤศจิกายน 2561 New 2022 คํา ถวาย ผ้า กฐิน

ดูวีดีโอ

ดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์เพิ่มเติมในหัวข้อ คํา ถวาย ผ้า กฐิน

#บุญกฐิน\nกฐิน เป็นศัพท์ในพระวินัยปิฎกเถรวาท ชื่อเรียกผ้าไตรจีวรที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้ภิกษุผู้อยู่จำพรรษาครบ 3 เดือนแล้ว รับมานุ่งห่มได้ โดยคำว่าการทอดกฐิน จัดเป็นสังฆกรรมประเภทหนึ่งตามพระวินัยบัญญัติเถรวาท คือพระสงฆ์สามารถกระทำสังฆกรรมนี้ได้นับแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ไปจนถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 เท่านั้น โดยมีวัตถุประสงค์สำคัญคือสร้างความสามัคคีในหมู่คณะสงฆ์ \n\nพระพุทธองค์ไม่ทรงห้ามการรับผ้าจากผู้ศรัทธาเพื่อนำมากรานกฐิน ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงทำให้เกิดทานพิธีการถวายผ้ากฐิน หรือการทอดกฐินของพุทธศาสนิกชนขึ้น และด้วยการที่การถวายผ้ากฐินนั้น จัดเป็นสังฆทาน คือถวายแก่คณะสงฆ์โดยไม่เจาะจงภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง เพื่อให้คณะสงฆ์นำผ้าไปอปโลกน์ ยกให้ แก่ภิกษุรูปใดรูปหนึ่งตามที่คณะสงฆ์ลงมติ (ญัตติทุติยกรรมวาจา) และกาลทาน สามารถรับได้ครั้งเดียวในรอบปี จึงทำให้ประเพณีการทอดกฐินเป็นบุญประเพณีนิยมที่สำคัญของพุทธศาสนิกชนโดยทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศไทย\n\n\nกฐินมีกำหนดระยะเวลาถวาย จะถวายตลอดไปเหมือนผ้าชนิดอื่นมิได้ ระยะเวลานั้นมีเพียง 1 เดือน คือตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ไปจนถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 (วันเพ็ญเดือน 12) ระยะเวลานี้เรียกว่า กฐินกาล คือระยะเวลา ทอดกฐิน หรือ เทศกาลทอดกฐิน\n\nธงกฐินนั้นจะมีอยู่ 4 อย่างคือ 1.รูปจระเข้ 2.รูปนางมัจฉา 3. รูปตะขาบ 4. รูปเต่า ซึ่งเป็นปริศนาธรรม มีความหมายว่า 1.จระเข้หมายถึงความโลภ สื่อที่ปากจระเข้มีขนาดใหญ่ 2.ตะขาบ หมายถึงความโกรธ สื่อถึงพิษของตะขาบ 3. นางมัจฉา หมายถึงความหลง ใช้รูปนางเงือกที่เป็นหญิงสาวรักสวยรักงาม 4.เต่า หมายถึงสติ การระวังป้องอายตนะทั้ง6 เหมือนเต่าที่หด หัว ขา หาง ป้องกันอันตราย เพื่อสอนว่า ความโลภ โกรธ หลง ต้องรู้จักควบคุมจิตใจด้วยการมีสติ นั่นเอง\n\nอานิสงส์ของการทอดกฐิน\n1. เป็นการสงเคราะห์พระภิกษุที่จำพรรษาครบถ้วนไตรมาสให้ได้รับอานิสงส์ตามพุทธบัญญัติ\n\n2.เป็นการเทิดทูนพระพุทธบัญญัติเรื่องกฐินให้คงอยู่สืบไป นับได้ว่าบูชาพระพุทธศาสนาด้วยการปฏิบัติบูชาส่วนหนึ่ง\n\n3.สืบต่อประเพณีกฐินทาน มิให้เสื่อมสลายไปจากวัฒนธรรมประเพณีของคนไทย ซึ่งบรรพบุรุษนำสืบต่อกันมามิขาดสาย\n\n4.การทอดกฐินเป็นการถวายทานโดยมิเจาะจงบุคคลโดยเฉพาะ แต่ถวายแก่หมู่สงฆ์เป็นส่วนรวมจึงเข้าลักษณะเป็นสังฆทาน ที่พระพุทธองค์ทรงสรรเสริญ ว่ามีผลานิสงส์มาก\n\n5.การร่วมบำเพ็ญกฐินทาน เป็น กาลทาน คือเป็นทานที่ถวายได้ภายในเวลาที่มีพระพุทธานุญาตกำหนด จึงมีอานิสงส์เป็นพิเศษ\n\n6.ในการทอดกฐิน ส่วนใหญ่เป็นการร่วมมือร่วมใจกันของคนจำนวนมากเพื่อสร้างความดีงาม จึงเป็นการเสริมสร้างพลังสามัคคีขึ้นในสังคมอีกทางหนึ่งด้วย\n\nสถานที่เที่ยวไกล้เคียง\n1.อุทยานแห่งชาติภูเวียง\n2.พิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ภูเวียง\n3.น้ำตกตาดฟ้า\n4.อุทยานไดโนเสาร์ศรีเวียง\n5.ผาชมตะวัน\n6.ลานกางเต้นท์อุทยานแห่งชาติภูเวียง\n7.น้ำตกทับพญาเสือ\n8.วัดป่ากิตติญานุสรณ์\n9.น้ำตกวังสักสิ้ว\n10.ตลาดคนเดินยามแลง\n11.วัดถ้ำผาเกิ้ง\n\nคำขวัญ อำเภอ เวียงเก่า\nศาลเจ้าจอมนรินทร์ ถิ่นใดโนเสาร์ล้านปี อากาศดี อุทยานเด่น เป็นแหล่งอารยธรรม เลิศล้ำภูตากา ตาดฟ้า ผาชมตะวัน มหัสจรรย์ขุนเขา เวียงเก่าเมืองน่าอยู่\n\nสามารถติดตามได้ที่ทางเว็บไซต์\nhttps://www.youtube.com/channel/UCYcl…\nhttps://www.youtube.com/channel/UCwYb…\nhttps://m.facebook.com/profile.php?fr…\nLine ID:Rungarun0232 \nอย่าลืม กด like \u0026 share \u0026 subscribe เพื่อเป็นกำลังใจ ด้ายนะครับ ขอบคุนที่รับชมและติดตามวิดีโอ นะครับ

คํา ถวาย ผ้า กฐิน รูปภาพที่เกี่ยวข้องในหัวข้อ

คํา ถวาย ผ้า กฐิน  2022  เตรียมเครื่องกฐิน งานกฐินสามัคคี จากกรุงเทพ วันที่ 3-4 พฤศจิกายน 2561
เตรียมเครื่องกฐิน งานกฐินสามัคคี จากกรุงเทพ วันที่ 3-4 พฤศจิกายน 2561 คํา ถวาย ผ้า กฐิน Update

กฐิน – วัดบ้านเก่าบ่อ อัปเดต

28/08/2019 · คำถวายผ้ากฐิน อิมัง ภันเต สะปะริวารัง กะฐินะจีวะระทุสสัง สังฆัสสะ โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต สังโฆ อิมัง สะปะริวารัง กะฐินะทุสสัง ปะฏิคคัณหาตุ …

+ ดูบทความโดยละเอียดที่นี่

พิธีถวายผ้าพระกฐินที่ วัดป่าบ้านตาด 3-10-2563 Update 2022 คํา ถวาย ผ้า กฐิน

ดูวีดีโอ

ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับหัวข้อ คํา ถวาย ผ้า กฐิน

พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรมหมื่นสุทธนารีนาถ โปรดให้หม่อมหลวงสราลี กิติยากร เป็นผู้แทนพระองค์ ไปถวายผ้าพระกฐิน ณ วัดป่าบ้านตาด อ.เมือง จ.อุดรธานี เวลา 13:30 น.

คํา ถวาย ผ้า กฐิน ภาพบางส่วนในหัวข้อ

คํา ถวาย ผ้า กฐิน  2022 New  พิธีถวายผ้าพระกฐินที่ วัดป่าบ้านตาด 3-10-2563
พิธีถวายผ้าพระกฐินที่ วัดป่าบ้านตาด 3-10-2563 คํา ถวาย ผ้า กฐิน Update New

บทสวดมนต์ในพิธีกฐิน – พุทธวิหาร นครนายก New

คำถวายผ้ากฐิน (หน้า 20 – 21) 5: คำถวายอาหารบูชาพระพุทธ (หน้า 26) 6: คำถวายภัตตาหาร ผ้าไตร ไทยธรรม (ตอนเช้า) 7: คำถวายผ้าป่าและอื่นๆ (ตอน …

+ ดูบทความโดยละเอียดที่นี่

ความหมายของคำว่า ทอดกฐิน New คํา ถวาย ผ้า กฐิน

ชมวิดีโอด้านล่าง

ข้อมูลใหม่ในหัวข้อ คํา ถวาย ผ้า กฐิน

ความหมายของคำว่า ทอดกฐิน\n\nกฐินทาน คือการถวายผ้าให้แก่พระภิกษุสงฆ์ ผู้ได้ดำรงตนอยู่ในกรอบแห่งศีล สมาธิ และปัญญา ผ่านการอยู่จำพรรษาตลอดฤดูฝน ณ อารามใดอารามหนึ่ง นับว่าเป็นกาลทานอันยิ่งใหญ่ ย่อมก่อให้เกิดอานิสงส์มากมายแก่ผู้ทอดถวาย ดังที่จะนำมาเล่าให้ได้ทราบ\n\nแต่ก่อนที่จะได้ทราบถึงอานิสงส์ เรามารู้จักความหมายของคำว่ากฐินกันสักนิดหนึ่ง คำว่า “กฐิน” แปลว่า สะดึง คือไม้ที่ใช้สำหรับขึงผ้าให้ตึง มีทั้งสี่เหลี่ยม บางครั้งก็เป็นรูปวงกลม เมื่อขึงผ้าด้วยสะดึงแล้ว จะทำให้เย็บผ้าได้ง่ายขึ้น\n\nแต่ในอีกความหมายหนึ่งนั้น หมายเอาผ้าจีวรที่ถวายแก่พระสงฆ์ที่อยู่ประจำอารามจนครบพรรษา คำว่า “ทอดกฐิน” จึงหมายถึงการน้อมนำผ้าจีวรมาวางทอดลง เพื่อถวายแด่ภิกษุสงฆ์ มิได้เจอะจงแก่ภิกษุรูปใด\n\nเทศกาลทอดกฐิน จะเรียกอีกแบบก็คือ ฤดูกาลเปลี่ยนผ้าใหม่ของพระภิกษุนั่นเอง\n\nโดยในอดีตกาล ยุคต้นที่พระพุทธศาสนาเริ่มบังเกิดขึ้น ผ้าที่ภิกษุได้มานั้น เป็นผ้าที่ไม่มีเจ้าของ หรือผ้าที่เขาทิ้งแล้ว เช่นผ้าห่อศพในป่าช้า หรือผ้าที่เขาทิ้งไว้ตามกองหยากเยื่อ\n\nที่เป็นเช่นนี้ เพราะผ้าในยุคนั้นเป็นของมีค่า หาได้ยาก การที่ภิกษุแสวงหาผ้าที่ไม่มีผู้หวงแหนนำมาใช้นุ่งห่ม จึงแสดงถึงความสันโดษมักน้อยของนักบวชผู้มุ่งแสวงหาความหลุดพ้น\n\nอีกอย่างหนึ่ง จะได้ไม่เป็นที่หมายปองของพวกโจร จะได้ไม่ถูกขโมย หรือถูกโจรปล้นชิงไป เพราะในสมัยนั้นเขารังเกียจผ้าปุปะ หรือผ้าเก่าๆ ถือว่าเป็นผ้าเสนียด จึงไม่มีใครอยากได้\n\nแต่มาภายหลัง ทรงอนุญาตให้พระภิกษุรับผ้าที่คหบดีนำมาถวายได้ เนื่องจากหมอชีวกะได้กราบทูลเพื่อที่จะถวายผ้าแก่พระภิกษุ เพราะเห็นว่าพระภิกษุทั้งหลาย ท่านมีความลำบากในการแสวงหาผ้าเหลือเกิน \n\nรูปแบบของจีวรนั้น เกิดขึ้นจากดำริของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คือครั้งหนึ่ง พระองค์ทรงชี้ให้พระอานนท์แลดูคันนาของชาวมคธ และให้ออกแบบตัดเย็บ โดยใช้แผ่นผ้าหลายชิ้นนำมาเย็บต่อๆ กันเป็นขันธ์คล้ายคันนา เพื่อให้เป็นผ้ามีตำหนิไม่มีใครอยากได้\n\nพระพุทธองค์จึงทรงบัญญัติให้จีวรมี 5 ขันธ์ขึ้นไป ส่วนจีวรในปัจจุบันมี 5 ขันธ์ นับเฉพาะแนวตั้งเรียกว่า “มณฑล” ส่วนขันธ์ย่อยเรียก “อัฑฒมณฑล” \n\nจีวรที่พระภิกษุใช้สอยกันในสมัยก่อนนั้น จะต้องวัดแต่ละชิ้นให้ได้สัดส่วน แล้วก็ทำการตัด เย็บ และย้อมเอง ซึ่งเป็นเรื่องยากและลำบากอย่างยิ่งสำหรับพระภิกษุ\n\nโดยวัสดุที่ทรงอนุญาตให้นำมาย้อมผ้าจีวรได้ คือ 1.รากไม้ 2.ต้นไม้ 3.ใบไม้ 4.ดอกไม้ 5.เปลือกไม้ 6.ผลไม้ ซึ่งเมื่อเย็บเสร็จแล้วก็ต้องนำมาย้อม สีที่นิยมใช้ คือ สีเหลืองเจือแดง, สีเหลืองหม่น หรือสีกรัก ส่วนสีที่ห้ามใช้ ได้แก่ สีคราม สีเหลือง สีแดง สีบานเย็น สีแสด สีชมพู และสีดำ \n\nเมื่อเย็บและย้อมเสร็จแล้วก็ต้องอธิษฐานให้เป็นผ้าครองต่อไป แต่ก่อนจะนำมานุ่งห่ม ก็จะต้องพิจารณาผ้าเสียก่อนจึงจะนำมาใช้ได้\n\nโดยเมื่อสำเร็จเป็นจีวรแล้วนั้น พระภิกษุท่านจะใช้สอย และเก็บรักษาเป็นอย่างดี เพราะถือว่า ผ้าจีวรนั้นเป็นธงชัยของพระอรหันต์\n\nเมื่อพระภิกษุได้ผ้าจีวรผืนใหม่แล้ว ส่วนผ้าผืนเก่าก็จะนำไปใช้ประโยชน์อย่างอื่น เช่น นำมาทำเป็นผ้าดาดเพดาน เมื่อผ้าดาดเพดานเก่า ก็จะเอามาทำเป็นผ้าปูฟูกหรือผ้าปูที่นอน ผ้าปูที่นอนผืนนั้น เมื่อเก่าลง ก็จะนำมาทำเป็นผ้าปูพื้น ผ้าปูพื้นที่เก่าแล้ว ก็เอามาทำเป็นผ้าเช็ดเท้านำผ้าเช็ดเท้าที่เก่าแล้ว มาทำเป็นผ้าเช็ดธุลี และนำผ้าเช็ดธุลีที่เก่าแล้ว มาโขลกให้แหลก แล้วขยำกับโคลนเพื่อฉาบทาฝากุฏิ \n\nดังนั้น ผ้ากฐินที่ได้ถวายพระภิกษุสงฆ์ไปแล้วนั้น ย่อมเกิดประโยชน์สูงสุด จึงก่อให้เกิดอานิสงส์แก่ผู้ทอดถวายมากมาย \n\nส่วนประวัติการรับผ้ากฐิน และอานิสงส์กฐินนั้น มีความเป็นมาดังนี้ สมัยหนึ่ง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าของเราประทับอยู่ที่วัดพระเชตวัน กรุงสาวัตถี \n\nครั้งนั้น ภิกษุชาวเมืองปาไฐยรัฐจำนวน 30 รูป เดินทางเพื่อมาเข้าเฝ้าพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่วัดพระเชตวัน กรุงสาวัตถี\n\nแต่เมื่อถึงเมืองสาเกตุเท่านั้น ยังไม่ทันถึงกรุงสาวัตถี ก็ถึงวันเข้าพรรษาเสียก่อน จึงต้องเข้าจำพรรษาเสียในระหว่างทางนั้นเอง\n\nในระหว่างนั้น ภิกษุชาวปาไฐยรัฐมีใจระลึกถึงพระพุทธองค์ว่า เราแม้อยู่ห่างจากสาวัตถีเพียง 6 โยชน์ แต่พวกเรากลับไม่ได้เข้าเฝ้าพระองค์\n\nครั้นล่วง 3 เดือนแล้ว ภิกษุเหล่านั้นได้ทำการปวารณาซึ่งกันและกันในวันมหาปวารณา\n\nในตอนนั้นแม้ออกพรรษาแล้วแต่ฝนยังตกอยู่ พื้นดินชุ่มไปด้วยน้ำและโคลน ภิกษุเหล่านั้นรีบเร่งเดินทางเพื่อเข้าไปเข้าเฝ้าพระพุทธองค์ จึงทำให้สบงจีวรที่ท่านนุ่งห่มเปียกปอน เปรอะเปื้อน และเปื่อยขาด กว่าจะเดินทางมาถึงพระเชตวันก็ได้รับความลำบากเป็นอย่างมาก\n\nเมื่อถึงพระเชตวันแล้ว ยังมิทันได้พักเลย ภิกษุเหล่านั้นก็รีบเข้ากราบพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ด้วยทั้งจีวรที่ชุ่มไปด้วยน้ำ เปรอะเปื้อนไปด้วยดินโคลน\n\nพระพุทธองค์ได้ตรัสถามภิกษุเหล่านั้นเรื่องความเป็นอยู่ และสุขภาพร่างกายว่า จำพรรษากันผาสุกดีอยู่หรือ ทะเลาะวิวาทกันบ้างไหม อาหารบิณฑบาตพอยังอัตภาพให้เป็นไปได้หรือ\n\nภิกษุทั้งหลายได้ทูลตอบพระสัมมาสัมพุทธเจ้าว่า จำพรรษาด้วยความผาสุก พอยังอัตภาพให้เป็นไปได้ ยังมีความพร้อมเพรียงกัน ไม่วิวาทกัน และไม่ลำบากด้วยอาหารบิณฑบาต\n\nพระพุทธองค์ทรงเห็นจีวรของภิกษุทั้งหลายเก่าและขาด จึงทรงมีพุทธานุญาตให้รับผ้ากฐินได้ แต่ต้องอยู่ภายในระยะเวลาสั้นๆ เพียงหนึ่งเดือน หลังจากออกพรรษาแล้ว\n\nโดยให้ภิกษุที่ได้รับผ้ากฐินแล้ว ได้อานิสงส์ 5 ประการคือ \n1.เที่ยวไปสู่ที่สงัดเพื่อแสวงหาที่ปฏิบัติธรรมได้ตามสะดวก โดยไม่ต้องบอกลา\n2.เที่ยวไปได้โดยไม่ต้องนำผ้าไตรจีวรไปครบสำรับ\n3.ฉันคณะโภชนะได้ คือฉันภัตตาหารร่วมโต๊ะ หรือร่วมวงฉันด้วยกันได้\n 4.ทรงอดิเรกจีวรได้ตามปรารถนา คือรับผ้าจีวรได้มากผืน\n5.จีวรที่เกิดขึ้น ณ ที่นั้นจักได้แก่พวกเธอ คือ หากได้ผ้าจีวรมาเพิ่มอีก ก็สามารถเก็บไว้ใช้ได้ไม่ต้องเข้าส่วนกลาง\n\n🌟ร่วมทำบุญโดยโอนเข้าบัญชีวัดพระธรรมกาย ธนาคารกรุงไทย สาขาตลาดไท เลขบัญชี 152-1-20208-7\n\nนำสลิปการโอนมาขอออกใบอนุโมทนาบัตร\n\n#วัดพระธรรมกาย #ธรรมะ #ธรรมกาย

คํา ถวาย ผ้า กฐิน ภาพบางส่วนในหัวข้อ

คํา ถวาย ผ้า กฐิน  2022 Update  ความหมายของคำว่า ทอดกฐิน
ความหมายของคำว่า ทอดกฐิน คํา ถวาย ผ้า กฐิน 2022 New

ลำดับพิธีกฐิน – tong9 2022 Update

คำถวายผ้ากฐิน อิมัง ภันเต, สะปะริวารัง, กะฐินะจีวะระทุสสัง, สังฆัสสะ, โอโณชะยามะ สาธุ โน ภัณเต, สังโฆ, อิมัง สะปะริวารัง,

+ ดูรายละเอียดที่นี่

คำถวายผ้าป่า 2022 New คํา ถวาย ผ้า กฐิน

ดูวีดีโอ

อัพเดทใหม่ในหัวข้อ คํา ถวาย ผ้า กฐิน

คำถวายผ้าป่า\n อิมานิ มะยัง ภันเต, ปังสุกูละจีวะรานิ, สะปะริวารานิ,\n ภิกขุสังฆัสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, ภิกขุสังโฆ, อิมานิ,\n ปังสุกูละจีวะรานิ, สะปะริวารานิ, ปะฏิคคัณหาตุ, อัมหากัง,\n ทีฆะรัตตัง, หิตายะ สุขายะ.\nคำแปล: ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวายผ้าบังสุกุลจีวร \nกับทั้งบริวารทั้งหลายเหล่านี้ แด่พระภิกขุสงฆ์ ขอพระภิกขุสงฆ์จงรับ ผ้าบังสุกุลจีวร กับทั้งบริวารทั้งหลายเหล่านี้ ขอข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์ และความสุขแก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนานเทอญ.

คํา ถวาย ผ้า กฐิน คุณสามารถดูภาพสวย ๆ ในหัวข้อ

คํา ถวาย ผ้า กฐิน  Update New  คำถวายผ้าป่า
คำถวายผ้าป่า คํา ถวาย ผ้า กฐิน 2022 New

ทอดกฐิน…ทอดผ้าป่า มหาศรัทธาบุญใหญ่ 2022 New

16/08/2020 · ส่วนหนึ่งคำว่า “กฐิน” หมายถึง ชื่อผ้าที่เป็นเสมือนศูนย์รวมศรัทธาจากผู้เลื่อมใสที่มีเป้าประสงค์ เดียวกันนำมาถวายให้เป็น …

+ อ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่นี่

คำถวายผ้าไตรจีวร ll ที่ถูกต้องตามหลักพระพุทธศาสนา Update คํา ถวาย ผ้า กฐิน

ดูวีดีโอ

ข้อมูลใหม่ในหัวข้อ คํา ถวาย ผ้า กฐิน

#คำถวายผ้าไตรจีวร

คํา ถวาย ผ้า กฐิน ภาพบางส่วนในหัวข้อ

คํา ถวาย ผ้า กฐิน  New 2022  คำถวายผ้าไตรจีวร ll ที่ถูกต้องตามหลักพระพุทธศาสนา
คำถวายผ้าไตรจีวร ll ที่ถูกต้องตามหลักพระพุทธศาสนา คํา ถวาย ผ้า กฐิน New Update

อานิสงส์ถวายผ้ากฐิน | สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง หนังสือสวดมนต์ Update New

17/10/2019 · ตัด เย็บ ย้อม ทำผ้ากฐินเอง ซึ่งจะต้องทำให้แล้วเสร็จ. ภายในวันเดียว ต่อมามีญาติโยมปรารถนาจะถวายผ้ากฐิน. แก่ภิกษุ พระพุทธ …

+ ดูบทความโดยละเอียดที่นี่

พิธีถวายผ้ากฐิน วัดหนองประดู่ ชัยภูมิ 2022 New คํา ถวาย ผ้า กฐิน

ดูวีดีโอ

ดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์เพิ่มเติมในหัวข้อ คํา ถวาย ผ้า กฐิน

คํา ถวาย ผ้า กฐิน ภาพบางส่วนในหัวข้อ

คํา ถวาย ผ้า กฐิน  2022 New  พิธีถวายผ้ากฐิน วัดหนองประดู่ ชัยภูมิ
พิธีถวายผ้ากฐิน วัดหนองประดู่ ชัยภูมิ คํา ถวาย ผ้า กฐิน New 2022

ขอบทสวดอปโลกณกฐินเป็นภาษาบาลี | พลังจิต Update

31/07/2010 · คำถวายผ้ากฐิน อิมัง ภันเต, สะปะริวารัง, กะฐินะจีวะระทุสสัง, สังฆัสสะ, โอโณชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, สังโฆ, อิมัง, สะปะริวารัง, กะฐินะ-

+ ดูเพิ่มเติมที่นี่

สื่อประกอบการสาธิตท่องกล่าวคำถวายผ้ากฐิน New 2022 คํา ถวาย ผ้า กฐิน

ชมวิดีโอด้านล่าง

ข้อมูลใหม่ในหัวข้อ คํา ถวาย ผ้า กฐิน

มาเรียนรู้ความสำคัญของบุญทอดกฐิน มหากาลทาน ที่ ๑ ปี ทำได้เพียงครั้งเดียว และคลิปนี้มีเทคนิคเคล็ดลับเพื่อสร้างความมั่นใจในการกล่าวท่องคำถวายผ้ากฐิน อย่ารอช้ารีบกดไลก์ กดแชร์ และทำตามอย่างมั่นใจ เพื่อการทำหน้าที่ต้นแบบประธานกฐินสัมฤทธิ์เด็กดีวีสตาร์ และสืบทอดพุทธประเพณีทอดกฐินให้อยู่คู่แผ่นดินไทยตราบนานเท่านานกันนะครับ\n\n\nสอบถามรายละเอียดและสมัครเข้าร่วมกิจกรรมทอดกฐินสัมฤทธิ์เด็กดี V-Star ได้ที่ เบอร์โทรศัพท์ 08-3540-6429 และ 08-8002-6123 หรือ www.vstarproject.com

คํา ถวาย ผ้า กฐิน คุณสามารถดูภาพสวย ๆ ในหัวข้อ

คํา ถวาย ผ้า กฐิน  Update 2022  สื่อประกอบการสาธิตท่องกล่าวคำถวายผ้ากฐิน
สื่อประกอบการสาธิตท่องกล่าวคำถวายผ้ากฐิน คํา ถวาย ผ้า กฐิน Update

กฐิน คืออะไร แปลภาษา แปลว่า หมายถึง (พจนานุกรมไทย-ไทย … 2022 New

กฐิน. นี้ ใช้ประกอบกับคําอื่นอันเนื่องด้วยพิธีกฐิน ผ้าที่ถวายแก่ภิกษุสงฆ์ในพิธีนี้เรียกว่า. ผ้ากฐิน. ในฤดูกาลเรียกว่า …

+ อ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่นี่

บังสุกุลตาย ธรรมยุต Update คํา ถวาย ผ้า กฐิน

ดูวีดีโอ

ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับหัวข้อ คํา ถวาย ผ้า กฐิน

การอ่านแบบธรรมยุตจะเปลี่ยนตัวอักษรบางตัวในการอ่าน เช่น\nพ เปลี่ยนเป็น บ \nท เปลี่ยนเป็น ด \nฑ เปลี่ยนเป็น ฎ \nค เปลี่ยนเป็น ก+ง เป็นต้น

คํา ถวาย ผ้า กฐิน คุณสามารถดูภาพสวย ๆ ในหัวข้อ

คํา ถวาย ผ้า กฐิน  2022  บังสุกุลตาย ธรรมยุต
บังสุกุลตาย ธรรมยุต คํา ถวาย ผ้า กฐิน Update 2022

คำสำคัญที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อ คํา ถวาย ผ้า กฐิน

Đang cập nhật

ขอบคุณที่รับชมกระทู้ครับ คํา ถวาย ผ้า กฐิน

Articles compiled by Bangkokbikethailandchallenge.com. See more articles in category: MMO

Leave a Comment